เหล็กข้ออ้อย SD30, SD40, SD50 มีกำลังรับแรงดึงที่จุดครากไม่น้อยกว่า 3000, 4000, 5000 ksc.ตามลำดับ โดยปกติจะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง เช่น DB10(หาในตลาดทั่วไปยาก), DB12(หมายถึง Deformed Bar ขนาด ศก.12มม.), DB16, DB20, DB25, DB28, DB32 ผิวของเหล็กเส้นจะมีลักษณะเป็นปล้องเพื่อเพิ่มแรงยึดเหนี่ยวให้เหล็กกับคอนกรีตมากขึ้น
การเลือกใช้ชนิดของเหล็กเส้นข้ออ้อย SD30, SD40, และ SD50 ขึ้นอยู่กับชนิดของโครงสร้างเป็นสำคัญ ลักษณะของเหล็กเส้นข้ออ้อยที่ดี ต้องมีระยะบั้งที่เท่ากันและสม่ำเสมอตลอดทั้งเส้น ไม่มีสนิมรอยตำหนิ ไม่มีรอยปริและแตกร้าว ชนิดและความแตกต่างของเหล็กเส้น ความยาวโดยปกติที่ขายกันในท้องตลาด คือ 10 ม. แต่อาจจะสั่งพิเศษ เช่น 12 ม. หรือมากกว่านั้นก็ต้องสั่งทำพิเศษ
เหล็กข้ออ้อย จะมีขนาดหน้าตัดประมาณตั้งแต่ 10 – 32 มม. เหล็กทั้งสองประเภท จะมีการใช้งานที่แตกต่างกันโดยจะใช้เหล็กข้ออ้อยเป็นหลักเนื่องจากรับแรงได้ดีกว่า และใช้เหล็กเส้นกลม ขนาดหน้าตัดเล็กกว่าเป็นเหล็กปลอกรัดรอบเหล็กข้ออ้อยเป็นระยะๆ สังเกตง่ายๆ คือ
• ในเสาแนวตั้ง จะใช้เหล็กข้ออ้อยเป็นเหล็กยืน (ตั้งตลอดแนวเสา) และใช้เหล็กเส้นกลมเป็นเหล็กปลอกรัดรอบเหล็กยืนเป็นระยะๆ
• ในคานแนวนอน จะใช้เหล็กข้ออ้อยเป็นเหล็กนอน (ยาวตลอดแนวคาน) และใช้เหล็กเส้นกลมเป็นเหล็ก ปลอกรัดรอบเหล็กนอกเป็นระยะๆ และเมื่อมาถึงคำถามที่ว่า
TP-04-0014
เหล็กเส้นข้ออ้อย 25 มม SD40T มาตรฐาน มอก.20-2559 มีกำลังรับแรงดึงที่จุดครากไม่น้อยกว่า 4000 ksc. น้ำหนัก 38.53 kg
ขายแล้ว 0 ชิ้น
TP-04-0017
เหล็กเส้นข้ออ้อย 20 มม SD40T มาตรฐาน มอก.20-2559 มีกำลังรับแรงดึงที่จุดครากไม่น้อยกว่า 4000 ksc. น้ำหนัก 24.66 kg
ขายแล้ว 0 ชิ้น
TP-04-0015
เหล็กเส้นข้ออ้อย 12 มม SD40T มาตรฐาน มอก.20-2559 มีกำลังรับแรงดึงที่จุดครากไม่น้อยกว่า 4000 ksc. น้ำหนัก 8.88 kg
ขายแล้ว 0 ชิ้น
TP-04-0016
เหล็กข้ออ้อย 16 มม SD40T มาตรฐาน มอก.20-2559 มีกำลังรับแรงดึงที่จุดครากไม่น้อยกว่า 4000 ksc. น้ำหนัก 15.78 kg
ขายแล้ว 0 ชิ้น